วันพุธที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ใบงานเรื่อง ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสำคัญดังนี้
– จะต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
– สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้
– มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคำปรึกษา
– มีเวลาเพียงพอ
– มีงบประมาณเพียงพอ
– มีความปลอดภัย
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
กำหนดของเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งความรู้เพิ่มเติมในเรื่งที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำเนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสมในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว นักเรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสำคัญไว้ด้วย
จะต้องพิจารณาดังนี้ มูลเหตุจูงใจและเป้าหมายในการทำ วัสดุอุปกรณ์ ความต้องการของผู้ใช้งานและคุณลักษณะของผลงาน (Requirement and Specification) วิธีการประเมินผล วิธีการพัฒนา ข้อสรุปของโครงงาน ความแปลกใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ แนวทางในการปรับปรุงหรือขยายการทดลองจากงานเดิม
3. การจัดทำเค้าโครงของโครงงานที่จะทำ
จำเป็นต้องกำหนดกรอบแนวคิดและวงแผนการพัฒนาล่วงหน้าเพื่อคาดการณ์ความเป็นไปได้ของโครงงาน ขั้นตอนที่สำคัญคือ ศึกษาค้นคว้าเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบการพัฒนา เสนอเค้าโครงของโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคำแนะนำและปรับปรุงแก้ไข
4. การลงมือทำโครงงาน
ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการพัฒนาตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ดังนี้ เตรียมการ ลงมือพัฒนา ตรวจสอบผลงานและแกไข อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาโครงงานในอนาคต
5. การเขียนรายงาน
เป็นสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวความคิด วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนควรใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมาให้ครอบคลุมหัวข้อต่าง ๆ
6. การนำเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
เป็นการนำเสนอเพื่อแสดงออกถึงผลของความคิด ความพยายามในการทำงานที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจในโครงงานนั้น ในการเสนออาจทำได้หลายรูปแบบ เช่น ติดโปสเตอร์ การรายงานตัวในที่ประชุม การแสดงผลงานด้วยสื่อต่าง การจัดนิทรรศการ การอธิบายด้วยคำพูด
ที่มา : https://ipattapong.wordpress.com
วันพุธที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2560
ใบงานเรื่องภาษาคอมพิวเตอร์
1. ภาษา JAVA
JAVA ถือเป็นหนึ่งในภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดจากผู้ใช้งานถึง9ล้าน คน และยังถูกใช้ในเครื่องมือต่างๆถึง 7พันล้านเครื่องมือทั่วโลก และมันยังเป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนาแอนดรอยด์แอพลิเคชั่นแบบNativeอีกด้วย ความนิยมในตัวภาษาJAVA นั้น เป็นเพราะตัวภาษาที่อ่านได้ง่าย ทำให้ทำงานง่าย อีกทั้งความเข้ากันได้กับแอพลิเคชั่นเก่าๆ จึงทำให้ผู้ใช้สามารถทำงานต่อเนื่องไปได้ ซึ่งวิเคราะห์กันว่า ภาษาJAVAนี้จะไม่ลดความนิยมลงไปง่ายๆ และยังคงถูกใช้โดยเว็ปไซต์ใหญ่ๆมากมาย เช่น LinkedIn.com, Netflix.com หรือแม้แต่ Amazon.com
2. ภาษา Python
Python เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในวัตถุประสงค์ทั่วไป ซึ่งถูกตั้งชื่อตาม the Monty Python ซึ่งภาษาPython นี้ เป็นภาษาที่อ่านได้ง่ายมาก เพราะมันมีลักษณะคล้ายภาษาอังกฤษ มันเป็นภาษาที่เหมาะมากกับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรมไปจนถึงโปรแกรมเมอร์มือ อาชีพ เมื่อไม่นานมานี้ Pythonได้แซงJAVA ขึ้นเป็นภาษาที่ถูกเลือกใช้ในการสอนเขียนโค้ดเบื้องต้น (introductory programming courses) มากที่สุด โดย8ใน10 ของคณะวิทยาการคอมพิวเตอร์ชื่อดังเลือกใช้ Python ในการสอนเขียนโค้ด เช่นเดียวกันกับโรงเรียนชั้นนำ27จาก39แห่งก็เลือกใช้Pythonในการสอนเช่นกัน และจากการที่Pythonถูกนำมาสอนในสถาบันการศึกษามากมาย จึงทำให้เกิดPython Libraries ที่เกี่ยวกับวิชาต่างๆเช่น เลข หรือฟิสิกส์ออกมา นอกจากนี้ PBS, NASA และ Reddit ก็ยังใช้ Python กับเว็ปไซต์ของตัวเองด้วย
3. ภาษา iOS/Swift
ในปี2014 บริษัท Apple ตัดสินใจจะสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ของตนเองขึ้นมา ซึ่งนั่นก็คือ Swift ซึ่งเป็นภาษาคอมพิวเตอร์เฉพาะสำหรับนักพัฒนา iOS และOS X นักพัฒนาส่วนใหญ่พบว่าหลายๆส่วนของSwiftนั้นมีความคล้ายคลึง กับC++และObjective-C ด้วยเหตุนี้เอง บริษัทหลายๆแห่ง รวมถึง American Airlines, LinkedIn, และ Duolingo ต่างก็นำ Swift มาใช้
4. C#
ในปี2000 C#(อ่านออกเสียงว่า ซี ชาร์ป) ถือเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใหม่มากที่ถูกออกแบบขึ้นโดย Microsoftเพื่อการใช้งานในองค์กรขนาดใหญ่ต่างๆที่ใช้ตระกูล .NET ซึ่งภาษาC#นี้ ถือเป็นวิวัฒนาการขึ้นมาจากภาษา C และ C++ตามสำดับ ซึ่งC# ถือเป็นภาษาที่ง่าย ทันสมัย และเป็น object orientedอย่างแท้จริง
5. ภาษา PHP
สร้าง ขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์ชาวเดนิช-แคเนเดียน Rasmus Lerdorf ในปี1994 เมื่อแรกสร้าง PHP ไม่ได้ถูกคาดหวังให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันทั่วไป แต่Rasmus สร้างมันขึ้นมาเพื่อเป็นแค่หนึ่งในเครื่องมือในการทำ Personal Home Pageของเขาเอง ในปัจจุบันนี้ PHP (Hypertext Pre-Processor) เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมบนเซิฟเวอร์ที่สามารถใช้สร้างเว็ปเพจ ที่เขียนด้วยHTMLได้ ซึ่งPHPนี้ได้รับความนิยมก็เพราะมันใช้งานง่ายสำหรับโปรแกรมเมอร์หน้าใหม่ และยังมีลูกเล่นระดับแอดวานซ์อีกมากมายสำหรับโปรแกรมเมอร์มืออาชีพไว้ลอง เล่นอีกด้วย
ที่มา : http://www.topwork.asia/th/9-%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99/
JAVA ถือเป็นหนึ่งในภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดจากผู้ใช้งานถึง9ล้าน คน และยังถูกใช้ในเครื่องมือต่างๆถึง 7พันล้านเครื่องมือทั่วโลก และมันยังเป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนาแอนดรอยด์แอพลิเคชั่นแบบNativeอีกด้วย ความนิยมในตัวภาษาJAVA นั้น เป็นเพราะตัวภาษาที่อ่านได้ง่าย ทำให้ทำงานง่าย อีกทั้งความเข้ากันได้กับแอพลิเคชั่นเก่าๆ จึงทำให้ผู้ใช้สามารถทำงานต่อเนื่องไปได้ ซึ่งวิเคราะห์กันว่า ภาษาJAVAนี้จะไม่ลดความนิยมลงไปง่ายๆ และยังคงถูกใช้โดยเว็ปไซต์ใหญ่ๆมากมาย เช่น LinkedIn.com, Netflix.com หรือแม้แต่ Amazon.com
2. ภาษา Python
Python เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในวัตถุประสงค์ทั่วไป ซึ่งถูกตั้งชื่อตาม the Monty Python ซึ่งภาษาPython นี้ เป็นภาษาที่อ่านได้ง่ายมาก เพราะมันมีลักษณะคล้ายภาษาอังกฤษ มันเป็นภาษาที่เหมาะมากกับผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรมไปจนถึงโปรแกรมเมอร์มือ อาชีพ เมื่อไม่นานมานี้ Pythonได้แซงJAVA ขึ้นเป็นภาษาที่ถูกเลือกใช้ในการสอนเขียนโค้ดเบื้องต้น (introductory programming courses) มากที่สุด โดย8ใน10 ของคณะวิทยาการคอมพิวเตอร์ชื่อดังเลือกใช้ Python ในการสอนเขียนโค้ด เช่นเดียวกันกับโรงเรียนชั้นนำ27จาก39แห่งก็เลือกใช้Pythonในการสอนเช่นกัน และจากการที่Pythonถูกนำมาสอนในสถาบันการศึกษามากมาย จึงทำให้เกิดPython Libraries ที่เกี่ยวกับวิชาต่างๆเช่น เลข หรือฟิสิกส์ออกมา นอกจากนี้ PBS, NASA และ Reddit ก็ยังใช้ Python กับเว็ปไซต์ของตัวเองด้วย
3. ภาษา iOS/Swift
ในปี2014 บริษัท Apple ตัดสินใจจะสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ของตนเองขึ้นมา ซึ่งนั่นก็คือ Swift ซึ่งเป็นภาษาคอมพิวเตอร์เฉพาะสำหรับนักพัฒนา iOS และOS X นักพัฒนาส่วนใหญ่พบว่าหลายๆส่วนของSwiftนั้นมีความคล้ายคลึง กับC++และObjective-C ด้วยเหตุนี้เอง บริษัทหลายๆแห่ง รวมถึง American Airlines, LinkedIn, และ Duolingo ต่างก็นำ Swift มาใช้
4. C#
ในปี2000 C#(อ่านออกเสียงว่า ซี ชาร์ป) ถือเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใหม่มากที่ถูกออกแบบขึ้นโดย Microsoftเพื่อการใช้งานในองค์กรขนาดใหญ่ต่างๆที่ใช้ตระกูล .NET ซึ่งภาษาC#นี้ ถือเป็นวิวัฒนาการขึ้นมาจากภาษา C และ C++ตามสำดับ ซึ่งC# ถือเป็นภาษาที่ง่าย ทันสมัย และเป็น object orientedอย่างแท้จริง
5. ภาษา PHP
สร้าง ขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์ชาวเดนิช-แคเนเดียน Rasmus Lerdorf ในปี1994 เมื่อแรกสร้าง PHP ไม่ได้ถูกคาดหวังให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันทั่วไป แต่Rasmus สร้างมันขึ้นมาเพื่อเป็นแค่หนึ่งในเครื่องมือในการทำ Personal Home Pageของเขาเอง ในปัจจุบันนี้ PHP (Hypertext Pre-Processor) เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมบนเซิฟเวอร์ที่สามารถใช้สร้างเว็ปเพจ ที่เขียนด้วยHTMLได้ ซึ่งPHPนี้ได้รับความนิยมก็เพราะมันใช้งานง่ายสำหรับโปรแกรมเมอร์หน้าใหม่ และยังมีลูกเล่นระดับแอดวานซ์อีกมากมายสำหรับโปรแกรมเมอร์มืออาชีพไว้ลอง เล่นอีกด้วย
ที่มา : http://www.topwork.asia/th/9-%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99/
วันพุธที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ใบงานที่ 2 เรื่องความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คำสั่งหรือชุดคำสั่ง ที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ เราจะให้คอมพิวเตอร์ทำอะไรก็เขียนเป็นคำสั่ง ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอนและแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็นงานชิ้นหนึ่งขึ้นมามีชื่อเรียกว่า "โปรแกรม"ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
1. โปรแกรมระบบปฏิบัติการหรือโอเอส
ระบบปฏิบัติการหรือเรียกสั้นๆ ว่า OS เป็นโปรแกรมควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ทำ หน้าที่ควบคุมการทำงานต่างๆ เช่น การแสดงผลข้อมูล การติดต่อกับผู้ใช้โดยทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระหว่างผู้ใช้กับเครื่องให้สามารถสื่อสารกันได้ ควบคุมและจัดแบ่งทรัพยากรให้กับโปรแกรมต่างๆ ตัวอย่าง โปรแกรมโอเอสยอดนิยมในปัจจุบันเช่น Windows XP, Windows Vista
2. โปรแกรมประยุกต์ Application
โปรแกรมโอเอสมีหน้าที่หลักๆ ก็คือเป็นตัวควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ แต่ถ้าต้องการทำ อะไรต่อมิอะไรมากไปกว่านั้น ก็ต้องติดตั้งโปรแกรมเสริมที่ทำงานเฉพาะด้านลงไป เช่น ต้องการดูหนัง ก็ต้อง ลงโปรแกรมดูหนัง ต้องการฟังเพลง MP3 ก็ต้องลงโปรแกรม Winamp เป็นต้น
ตัวอย่างของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 โปรแกรม
1. Adobe Photoshop Lightroom
เป็นโปรแกรมที่รวมความสามารถของ Adobe Bridge และ Camera RAW เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถจัดการภาพและปรับแต่งภาพเบื้องต้นได้ในโปรแกรมเดียว สะดวกและรวดเร็ว สามารถทำการปรับแต่งภาพทีละหลายๆ ภาพในครั้งเดียวได้อย่างรวดเร็ว สามารถส่งภาพเข้าไปปรับแต่งเพิ่มเติมใน Adobe Photoshop ได้ทันที เมื่อปรับแต่งภาพเรียบร้อยแล้ว สามารถแปลงภาพที่ปรับแต่งแล้วจาก RAW ออกเป็นภาพฟอร์แมตอื่นๆเช่น Jpg, Tiff ได้ทีละหลายๆ ภาพในครั้งเดียว โดยสามารถกำหนดขนาด, ความละเอียดและอื่นๆได้ ส่วนตัว Adobe Photoshop นั้นจะต้องทำการ Save ทีละภาพทำให้เสียเวลา มี Preset ในการปรับแต่งภาพแบบต่างๆให้เลือกมากมาย ทำให้เราสามารถปรับแต่งภาพได้อย่างรวดเร็วเพียงคลิกเดียว มีฟังก์ชั่นในการทำหน้าแกลเลอรี่บนเว็บ และฟังก์ชั่นในการทำสไลด์โชว์ มีฟังก์ชั่นในการจัดทำการพิมพ์ภาพในแบบต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
2. Adobe Flash Player
สามารถนำไปสร้างสื่อการเรียนการสอนที่เป็นสื่อมัลติมีเดีย, ภาพเคลื่อนไหว(Animation)และภาพกราฟิกหลากหลายแบบที่น่าสนใจได้อย่างมากมาย และประยุกต์ใช้เป็นส่วนประกอบของอีกหลายๆโปรแกรมได้และมีปะสิทธิภาพสามารถบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็กเพื่อที่จะสามารถนำไฟล์ไปใช้แสดงที่ไหนก็ได้โดยไม่ต้องนำไปทั้งหมด มีผลทำให้แสดงผลได้อย่างรวดเร็วและ นอกจากนั้นยังสามารถแปลงไฟล์ไปอยู่ในฟอร์แมตอื่นได้หลากหลายแบบ เช่น avi, mov, gif, wav, emf, eps, ai, dxf, bmp , jpg, gif, png หรืออื่นๆ
3.Microsoft Powerpoint
สามารถสร้างงานนำเสนอได้ แม้ว่าจะไม่เคยสร้างงานนำเสนอมาก่อน เนื่องจากจะมีระบบช่วยเหลือ(Office Assistant) ใน PowerPoint ซึ่งจะคอยแนะนำหลักการในการสร้างงานนำเสนออย่างเป็นขั้นตอน การเลือกสีมาใช้กับสไลด์ และจัดองค์ประกอบทางศิลป์ได้โดยอัตโนมัติ ในส่วนการนำเสนอภาพนิ่ง สามารถที่จะนำองค์ประกอบมัลติมีเดีย เช่น การนำเอฟเฟค เสียง ดนตรีและวีดีโอ มาใช้ประกอบร่วมได้ นอกจากสิ่งที่ได้เตรียมมานำเสนอแล้ว ยังสามารถใช้ PowerPoint เตรียมเอกสารประกอบคำบรรยายและในขณะที่มีการนำเสนองาน ก็สามารถใช้เมาส์วาดเส้นบนสไลด์ที่แสดงอยู่ในขณะนั้นเพื่อเน้นประเด็นสำคัญได้ สามารถที่จะดัดแปลงงานนำเสนอที่เป็นไฟล์ PowerPoint เป็นสไลด์ 35 มม. เพื่อใช้นำเสนอผ่านเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต หรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในองค์กรได้
ที่มา :
- https://www.l3nr.org/posts/511912
- https://whipcreammg.wordpress.com
- https://sites.google.com/site/54540028kiti/3-cud-den-khxng-porkaerm-adobe-photoshop-lightroom-5-0
- http://www.siamebook.com/lbro/en/operating-systems/49-02009/1019-kind-of-applications.html
- https://sites.google.com/site/adbandon/ng23104-thekhnoloyi-sarsnthes-6-thexm-2/2-khwam-hmay-laea-prapheth-khxng-phasa-porkaerm-khxmphiwtexr
- http://blogs.adobe.com/photoshop/files/2013/04/Screen-Shot-2013-04-12-at-5.17.52-PM.png?file=2013/04/Screen-Shot-2013-04-12-at-5.17.52-PM.png
- https://screenshots.en.sftcdn.net/en/scrn/130000/130226/microsoft-powerpoint-36.pnghttps://res.cloudinary.com/db2leyxfg/image/upload/e_brightness:20,g_south_east,l_watermark_w8d.png,o_50,w_1.5,x_20,y_20/pad/crap2jvwgj45zqanfnkl.jpg
2. Adobe Flash Player
สามารถนำไปสร้างสื่อการเรียนการสอนที่เป็นสื่อมัลติมีเดีย, ภาพเคลื่อนไหว(Animation)และภาพกราฟิกหลากหลายแบบที่น่าสนใจได้อย่างมากมาย และประยุกต์ใช้เป็นส่วนประกอบของอีกหลายๆโปรแกรมได้และมีปะสิทธิภาพสามารถบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็กเพื่อที่จะสามารถนำไฟล์ไปใช้แสดงที่ไหนก็ได้โดยไม่ต้องนำไปทั้งหมด มีผลทำให้แสดงผลได้อย่างรวดเร็วและ นอกจากนั้นยังสามารถแปลงไฟล์ไปอยู่ในฟอร์แมตอื่นได้หลากหลายแบบ เช่น avi, mov, gif, wav, emf, eps, ai, dxf, bmp , jpg, gif, png หรืออื่นๆ
3.Microsoft Powerpoint
สามารถสร้างงานนำเสนอได้ แม้ว่าจะไม่เคยสร้างงานนำเสนอมาก่อน เนื่องจากจะมีระบบช่วยเหลือ(Office Assistant) ใน PowerPoint ซึ่งจะคอยแนะนำหลักการในการสร้างงานนำเสนออย่างเป็นขั้นตอน การเลือกสีมาใช้กับสไลด์ และจัดองค์ประกอบทางศิลป์ได้โดยอัตโนมัติ ในส่วนการนำเสนอภาพนิ่ง สามารถที่จะนำองค์ประกอบมัลติมีเดีย เช่น การนำเอฟเฟค เสียง ดนตรีและวีดีโอ มาใช้ประกอบร่วมได้ นอกจากสิ่งที่ได้เตรียมมานำเสนอแล้ว ยังสามารถใช้ PowerPoint เตรียมเอกสารประกอบคำบรรยายและในขณะที่มีการนำเสนองาน ก็สามารถใช้เมาส์วาดเส้นบนสไลด์ที่แสดงอยู่ในขณะนั้นเพื่อเน้นประเด็นสำคัญได้ สามารถที่จะดัดแปลงงานนำเสนอที่เป็นไฟล์ PowerPoint เป็นสไลด์ 35 มม. เพื่อใช้นำเสนอผ่านเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต หรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในองค์กรได้
ที่มา :
- https://www.l3nr.org/posts/511912
- https://whipcreammg.wordpress.com
- https://sites.google.com/site/54540028kiti/3-cud-den-khxng-porkaerm-adobe-photoshop-lightroom-5-0
- http://www.siamebook.com/lbro/en/operating-systems/49-02009/1019-kind-of-applications.html
- https://sites.google.com/site/adbandon/ng23104-thekhnoloyi-sarsnthes-6-thexm-2/2-khwam-hmay-laea-prapheth-khxng-phasa-porkaerm-khxmphiwtexr
- http://blogs.adobe.com/photoshop/files/2013/04/Screen-Shot-2013-04-12-at-5.17.52-PM.png?file=2013/04/Screen-Shot-2013-04-12-at-5.17.52-PM.png
- https://screenshots.en.sftcdn.net/en/scrn/130000/130226/microsoft-powerpoint-36.pnghttps://res.cloudinary.com/db2leyxfg/image/upload/e_brightness:20,g_south_east,l_watermark_w8d.png,o_50,w_1.5,x_20,y_20/pad/crap2jvwgj45zqanfnkl.jpg
วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ใบงานภาษา C
ความหมายของภาษาC
C หรือ C Language (ภาษาซี) คือ ซึ่งเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับพัฒนาโปรแกรมทั่วไป ถูกพัฒนาโดยเดนนิส ริสชี่ (Dennis Ritchie) เมื่อประมาณต้นปีค.ศ. 1970 เพื่อใช้งานบนระบบปฏิบัติการยูนิกส์ แทนภาษาแอสเซมบลี ซึ่งเป็นภาษาระดับต่ำที่สามารถกระทำในระบบฮาร์ดแวร์ได้ด้วยความรวดเร็ว แต่จุดอ่อนของภาษาแอซเซมบลีก็คือความยุ่งยากในการโปรแกรม ความเป็นเฉพาะตัว และความแตกต่างกันไปในแต่ละเครื่อง ต่อมาถูกนำไปใช้ในระบบปฏิบัติการต่าง ๆ จนถูกใช้เป็นภาษาพื้นฐานสำหรับภาษาอื่น เช่น ภาษาจาวา Java ภาษาพีเอชพี (PHP) ภาษาซีชาร์ป C# ภาษาซีพลัสพลัส C++ ภาษาเพิร์ล (Perl) ภาษาไพทอล (Python) หรือภาษารูบี้ (Ruby) ภาษาซีเป็นภาษาเขียนโปรแกรมระบบเชิงคำสั่ง (หรือเชิงกระบวนงาน) ถูกออกแบบขึ้นเพื่อใช้แปลด้วยตัวแปลโปรแกรมแบบการเชื่อมโยงที่ตรงไปตรงมา สามารถเข้าถึงหน่วยความจำในระดับล่าง ภาษา C แม้จะเป็นภาษาระดับสูง แต่ก็สามารถใช้เป็นภาษาเครื่องได้เป็นอย่างดีโครงสร้างของภาษาC
โปรแกรมในภาษาซีทุกโปรแกรมจะประกอบด้วยฟังก์ชันอย่างน้อย หนึ่งฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชัน main โดยโปรแกรมภาษาซีจะเริ่มทำงานที่ฟังก์ชัน main ก่อน ในแต่ละฟังก์ชันจะประกอบด้วย
1. Function Heading ประกอบด้วยชื่อฟังก์ชัน และอาจมีรายการของ argument (บางคนเรียก parameter) อยู่ในวงเล็บ
2. Variable Declaration ส่วนประกาศตัวแปร สำหรับภาษาซี ตัวแปรหรือค่าคงที่ทุกตัว ที่ใช้ในโปรแกรมจะต้องมีการประกาศก่อนว่าจะใช้งานอย่างไร จะเก็บค่าในรูปแบบใดเช่น interger หรือ real number
3. Compound Statements ส่วนของประโยคคำสั่งต่างๆ ซึ่งแบ่งเป็นประโยคเชิงซ้อน (compound statement) กับ ประโยคนิพจน์ (expression statment) โดยประโยคเชิงซ้อนจะอยู่ภายในวงเล็บปีกกาคู่หนึ่ง { และ } โดยในหนึ่งประโยคเชิงซ้อน จะมีประโยคนิพจน์ที่แยกจากกันด้วยเครื่องหมาย semicolon (;) หลายๆ ประโยครวมกัน และ อาจมีวงเล็บปีกกาใส่ประโยคเชิงซ้อนย่อยเข้าไปอีกได้
ตัวอย่าง
1.) โปรแกรมคำนวณดอกเบี้ย
ตัวโค้ด
#include
#include
void main()
{ int Y;
float M,R,Income[10];
printf("Invested Money(M):");
scanf("%f",&M);
printf("Invested Rate(R):");
scanf("%f",&R);
R=R/100;
printf("\nYear Income\n");
for(Y=1;Y<=9;Y++){
Income[Y]=M*pow((1+R),Y);
printf("%d%20.2f\n",Y,Income[Y]);
}
getch();
}
2.) โปรแกรมค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ตัวโค้ด
#include
int x,y,max,min;
float sum,mean;
minimum(x,y){
if(x
else return y;
}
maximum(x,y){
if(x>y)return x;
else return y;
}
void main(){
printf ("Enter x : ");
scanf("%d",&x);
printf ("Enter y : ");
scanf("%d",&y);
max=maximum(x,y);
printf("max = %d\n",max);
min=minimum(x,y);
printf("min = %d\n",min);
sum=x+y;
printf("sum = %.1f\n",sum);
mean=sum/2;
printf("mean = %.1f\n",mean);
getch();
}
3.) โปรแกรมหาอนุกรมเลขคณิต
ตัวโค้ด
#include
int find_n(int a1,int an,int d)
{
int n,i;
i=a1;
n=(an-a1)/d+1;
while(i
{
i+=d;
}
printf("an=%d i=%d\n",an,i);
if(i==an)
{
return n;
}else{
return 0;
}
}
int sumf(int a1,int n,int an)
{
int sum;
if(n%2!=0)
n++;
sum=(n/2)*(a1+an);
return sum;
}
int main()
{
int a1,an,d,sum,n;
printf("Enter a1: ");
scanf("%d", &a1);
printf("Enter an: ");
scanf("%d", &an);
printf("Enter d: ");
scanf("%d", &d);
n=find_n(a1,an,d);
if(n==0)
{
printf("Error\n");
return 0;
}
else
{
sum=sumf(a1,n,an);
printf("Sum = %d\n",sum);
system("pause");
return 0;
system("pause");
}
}
ที่มา
http://www.geocities.com/suwit_0000/index.html
http://nanotech.sc.mahidol.ac.th/c/basic/index.htm
http://www.mindphp.com
http://gifted-g4.exteen.com/20150203/entry
http://gifted-g4.exteen.com/20150203/entry-1
http://gifted-g4.exteen.com/20150203/entry-5
วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
กลุ่มงานคอมพิวเตอร์ ม.5/2 การติดตั้ง ROUTER WiFi
การติดตั้ง ROUTER WiFi
รายชื่อสมาชิก
1. นายธนดล บุญจำนงค์ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 7
2. นายศุภกฤษฎิ์ โชติวานิชกุล ชั้น ม.5/2 เลขที่ 25
3. น.ส.ชลมารค ทรัพย์สมบูรณ์ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 28
4. น.ส.อารยา เฉียบแหลม ชั้น ม.5/2 เลขที่ 31
5. น.ส.ธมลวรรณ ดำรงวุฒิโชติ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 44
รายชื่อสมาชิก
1. นายธนดล บุญจำนงค์ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 7
2. นายศุภกฤษฎิ์ โชติวานิชกุล ชั้น ม.5/2 เลขที่ 25
3. น.ส.ชลมารค ทรัพย์สมบูรณ์ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 28
4. น.ส.อารยา เฉียบแหลม ชั้น ม.5/2 เลขที่ 31
5. น.ส.ธมลวรรณ ดำรงวุฒิโชติ ชั้น ม.5/2 เลขที่ 44
วันอาทิตย์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
การเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ตสำหรับกล่อง AIS PLAYBOX
1.อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ
1.) AIS PLAYBOX
2.) สายเคเบิล AV
3.) สายเคเบิล HDMI
4.) รีโมตคอมโทรล
2. ขั้นตอนการติดตั้ง
แบบที่ 1
1.) เลือกไปที่เมนูหลัก (Setting)
2.) เลือก Network
3.) ต่อสาย LAN ด้านหลังกล่อง AIS PLAYBOX
4.) เลือกปุ่มอีเทอร์เน็ต (Ethernet)
5.) ปิดและเปิดสัญญาณอีกครั้งเพื่อรีเฟรช IP เมื่อตั้งค่าสมบูรณ์ ค่า IP จะครบทั้ง 4 ช่อง
6.) กดปุ่ม Home ที่รีโมตเพื่อกลับสู่หน้าหลัก
7.) เมื่อปรากฏสัญลักษณ์ทางด้านบนซ้ายแสดงว่าเสร็จสมบูรณ์
แบบที่ 2
1.) เลือกไปที่เมนูหลัก (Setting)
2.) เลือก Network
3.) เลือกปุ่ม wifi
4.) เลือกสัญญาณ wifi ที่ต้องการ
5.) ใส่รหัส wifi เพื่อเชื่อมต่อ
6.) กดปุ่ม Home ที่รีโมตเพื่อกลับสู่หน้าหลัก
7.) เมื่อปรากฏสัญลักษณ์ทางด้านบนซ้ายแสดงว่าเสร็จสมบูรณ์
3.) เลือกปุ่ม wifi
4.) เลือกสัญญาณ wifi ที่ต้องการ
5.) ใส่รหัส wifi เพื่อเชื่อมต่อ
6.) กดปุ่ม Home ที่รีโมตเพื่อกลับสู่หน้าหลัก
7.) เมื่อปรากฏสัญลักษณ์ทางด้านบนซ้ายแสดงว่าเสร็จสมบูรณ์
วันอาทิตย์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2560
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)